ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

เฝ้าระวัง! หญ้าแม่มด..วัชพืชกักกันร้ายแรงระบาดในแปลงอ้อย ข้าวโพด ทำผลผลิตเสียหายได้มากกว่า 50%


ตั้งแต่ ปี 2560 พบหญ้าแม่มด..วัชพืชกักกันร้ายแรงระบาดอยู่ในไร่อ้อย ข้าวโพด ข้าวฟ่าง  ข้าวฟ่างหางหมา ใน อ. เมือง อ.พยุหะคีรี อ. ตากฟ้า อ. ตาคลี อ. ท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ทำให้ผลผลิตอ้อย ข้าวโพด ข้าวฟ่าง เสียหายได้มากกว่า 50%

ลักษณะต้นของหญ้าแม่มด

ข้อมูลจากสมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทยระบุว่า พื้นที่เคยพบการระบาด..จะต้องเฝ้าระวังหญ้าแม่มดต่อเนื่องไปอีกอย่างน้อย 10-15 ปี เพื่อให้แน่ใจว่าหญ้าดังกล่าวได้หายไปจากพื้นที่แล้ว ถึงจะเปลี่ยนชนิดพืชไปเป็นพืชใบกว้าง เช่น ถั่วเขียว มันสำปะหลัง งา หรือ กระเจี๊ยบแดงก็ตาม

หญ้าแม่มดดอกสีขาวที่กำลังออกดอกติดเมล็ดในแปลงผอ้อยอายุ 5 เดือน

เป็นวัชพืชที่ประเทศคู่ค้าจะไม่ยอมให้มีเมล็ดติดไปกับสินค้าเกษตรนำเข้าจากต่างประเทศ โดยเฉพาะเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด หรือแม้แต่ข้าวสารส่งออก

จัดเป็นวัชพืชล้มลุกใบกว้าง อายุ 90-120 วัน ลำต้นสูงประมาณ 15 ถึง 30 เซนติเมตร ดอกเป็นช่อ ดอกมี 5กลีบสีขาว มีฝักเดี่ยวขนาดเล็กอยู่ตามซอกใบ  

ดอกและเมล็ดของหญ้าแม่มดที่มีขนาดเล็กมาก


เมล็ดมีขนาดเล็กมากคล้ายฝุ่นสามารถติดไปกับเสื้อผ้ารองเท้า เศษดินตามล้อรถไถ หรือปลิวไปตามลม ๆ

 หญ้าแม่มด 1 ต้น สามารถสร้างเมล็ดได้จำนวนมากถึง 200,000 เมล็ด และเมล็ดสามารถพักตัวในดินได้นาน ๆ15- 20 ปี    



เป็นวัชพืชที่เป็นกาฝากที่รากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น อ้อย ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ข้าวฟ่างหางหมา ข้าวไร่ และวัชพืชใบแคบ วงจรชีวิตประมาณ 90-120 วัน สามารถแทงรากเข้าไปดูดกินน้ำเลี้ยงในรากพืชปลูกได้ ทำให้พืชประธานแคระแกรนและแห้งตาย

https://drive.google.com/file/d/1DmeLpFpohONjD2l4S-hY8PgvzMfQyMPA/view?usp=drivesdk

ในช่วงของฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตแปลงอ้อย ขอเตือนเกษตรกรให้ระมัดระวังการเก็บเกี่ยวในแปลงที่มีการระบาดต้องทำความสะอาดรถตัดอ้อยและ รถคีบอ้อย  ไม่มีเศษดินติดไปกับล้อรถ

แผนที่แสดงการระบาดของหญ้าแม่มดในพื้นที่ต่างๆ



ทั้งนี้ สามารถแจ้งพิกัดการพบเห็นหญ้าแม่มด ให้กับทางสมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประทศไทย เพื่อจะเข้าไปดำเนินการจัดทำแผนที่เตือนภัยการระบาดต่อไป

#หญ้าแม่มดวัชพืชกักกันร้ายแรง #สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย #นสพกสิกร





 







 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

นวัตกรรมการผลิตถ่านดูดกลิ่น 3 In 1 จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ส่งเสริมรายได้สู่ชุมชน

  วช. เสริมแกร่ง มรภ.อุตรดิตถ์ ผลิตถ่านดูดกลิ่น 3 IN 1 จากวัสดุเหลือทิ้ง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นักวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ นำองค์ความรู้ และนวัตกรรมการผลิตถ่านดูดกลิ่น 3 In 1 จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ส่งเสริมรายได้พื้นที่เป้าหมาย สร้างเกษตรกรต้นแบบ จ.อุตรดิตถ์ และ จ.สุรินทร์ กว่า 100 ราย แนะใช้ถ่านดูดซับกลิ่น ความชื้น ยกระดับคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้ อมให้ยั่งยืน โดยการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนั กงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จากปัญหาเศษวัสดุเหลือทิ้ งทางการเกษตร อาทิ เปลือกทุเรียน เหง้ามันสำปะหลัง แกนข้าวโพด ข้อไม้ไผ่ รวมถึงเศษกิ่งไม้ริมทาง ยังไม่ได้ถูกนำมาใช้ให้เกิ ดประโยชน์มากนัก  อีกทั้งการจัดการโดยเผาเศษวัสดุ เหลือทิ้งในที่โล่ง ยังเป็นการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกและมลสารเข้าสู่ชั้ นบรรยากาศ องค์ความรู้และนวัตกรรมการผลิ ตถ่านดูดกลิ่น 3 In 1 ด้วยวิธีไพโรไลซิส จึงนับเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ ไขประเด็นปัญหาดังกล่าวได้ ขณะนี้นักวิจัยได้ถ่ายทอดองค์ ความรู้และติดตั้งนวัตกรรมแล้ว ประกอบด้วย เตาผลิตถ่านดูดกลิ่นแบบไพโรไลซิ ส เครื่...

เอ็นไอเอ โหมโรง “นิลมังกร” อัดฉีดผลงานนวัตกรรมเด่นพลิกฟื้นเศรษฐกิจหลังโควิด 19 โค้งสุดท้ายก่อนเฟ้นหาสุดยอดธุรกิจนวัตกรรมประเทศไทยภายใต้ “นิลมังกรแคมเปญ”

  สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายจำนวน 18 หน่วยงาน ได้แก่ ศูนย์แบรนด์เคยู คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค 14 มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย จัดประกาศผลและมอบรางวัล “ สุดยอดธุรกิจนวัตกรรมประเทศไทยประจำปี 2564 รอบภูมิภาค ( Thailand INNO BIZ Champion 2021 Regional Round) ภายใต้ “ นิลมังกรแคมเปญ ” ให้กับ 20 ธุรกิจนวัตกรรมจาก 4 ภูมิภาค ดร.พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการ NIA กล่าวว่า “NIA มีหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน และสร้างความสามารถการแข่งขันของประเทศด้วยการใช้นวัตกรรม ดังนั้นจึงได้ริเริ่มโครงการสุดยอดธุรกิจนวัตกรรมประเทศไทยระดับภูมิภาค ภายใต้ “ นิลมังกรแคมเปญ ” ขึ้น เพื่อสร้างตัวอย่างการทำธุรกิจนวัตกรรมในภูมิภาคให้คนในพื้นที่ได้เห็นถึงความสำคัญในการพัฒนานวัตกรรมและได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจนวัตกรรม ผ่านการสื่อสารในรูปแบบของ Edutainment เพื่อให้เป็นที่น่าสนใจ เข้าถึง และเข้าใจกระบวนการสร้างธุรกิ...

2-4 ธันวาคมนี้ พบกันที่ งานสัตว์น้ำไทย 2024 (Thai Aqua Expo 2024)

สมาคมกุ้งตะวันออกไทย ร่วมกับ พันธมิตรในภาคตะวันออก และภาครัฐ ร่วมจัดงานสัตว์น้ำเศรษฐกิจยิ่งใหญ่ประจำปี 2567 งานสัตว์น้ำไทย 2024 (Thai Aqua Expo 2024) ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 2-3-4 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมซันไรส์ ลากูน โฮเทลแอนด์กอล์ฟ จ.ฉะเชิงเทรา ภายใต้แนวความคิด “ปรับกลยุทธ์สัตว์น้ำไทย สร้างกำไรทุกภาคส่วน” โดยสมาคมกุ้งตะวันออกไทย ร่วมกับ สมาคม สหกรณ์ ชมรม กลุ่มแปลงใหญ่ ในภาคตะวันออกก รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐ และบริษัทเอกชนผู้ร่วมสนับสนุน ภายใต้มีวัตถุประสงค์ของการจัดงาน เพื่อเผยแพร่ความรู้ นวัตกรรม การส่งต่อข้อมูลเพื่อให้เกษตรกร สามารถวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทางการตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศ ถ่ายทอดแนวทางการลดต้นทุนตลอดห่วงโซ่ในอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และกระตุ้นให้มีการส่งเสริมการบริโภคภายในประเทศมากขึ้น ภายในงานมีการเสวนา และสัมมนาให้ความรู้กับเกษตรกรและผู้ที่สนใจ ตลอดระยะเวลาการจัดงาน ทั้ง 3 วัน รวมถึงมีการจัดแสดงสินค้าของบริษัทและผู้ค้าปัจจัยการผลิตที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยมีพื้นที่จัดแสดงสินค้ามากกว่า 70 บูท และมีบริษัทสนใจเข้าร่วม...