ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2021

สภาเอสเอ็มอี’ ร่วมภาคีเครือข่าย และ สภ.บางปู มอบถุงยังชีพให้กลุ่มผู้กักตัวและผู้ติดเชื้อโควิคที่ต้องรักษาตัวที่บ้าน

  วันที่ 30 กรฎาคม2564 นางสาวภัคข์ประภัส สุขใส กรรมการสภาวิสาหกิ จขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (สภาเอสเอ็มอี) ได้รับมอบหมายจากนายไชยวัฒน์ หาญสมวงศ์ ประธานสภาเอสเอ็มอี  เป็นผู้แทนในการมอบถุงยังชีพ ร่วมกับ สภ.บางปูโดยมีพ.ต.อ.พิสุทธิ์ จันทรสุวรรณ ผกก.สภ.บางปูพ.ต.ท.จีรวัช รุ่งกลิ่น รอง ผกก.ป.สภ.บางปูพ.ต.ต.กริช รัตนสกล สวป.สภ.บางปู เป็นตัวแทน มอบสิ่งของให้กับครอบครัวที่มี ผู้ต้องกักตัว และผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 ที่ต้องรักษาตัวที่บ้าน (Home Isolation) ในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อช่วยเหลือประชาชนใน้บื้ องต้นในการดำรงชีพในช่วงวิกฤติ โควิคที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ทั้งนี้ นายไชยวัฒน์ หาญสมวงศ์ ประธานสภาเอสเอ็มอีเปิดเผยว่ าจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ตั้งแต่ต้นปี 2563 จนถึงปัจจุบันซึ่งเป็นการแพร่ ระบาดในระลอกที่ 3 และกำลังจะเข้าสู่ระลอกที่ 4 ที่มีแนวโน้มจะรุนแรงมากยิ่งขึ้ นเรื่อยๆ จนรัฐบาลต้องออกประกาศล็อกดาวน์ 13 จังหวัด ในพื้นที่สีแดงเข้ม (ตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา) และคาดว่าประเทศไทยน่าจะตกอยู่ ในสถานการณ์ที่ยากลำบากนี้

วช. เผยผลสำเร็จ นักวิจัยมหิดล วิจัยชุดตรวจคัดกรองโรคในปาก รู้ผลไว

  ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้ สูงวัยอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2564 หนึ่งในปัญหาสุขภาพของผู้สู งอายุที่ต้องเผชิญ คือ โรคในช่องปาก ที่ส่งผลให้ผู้ป่วยสูงวัยที่มี ภาวะโรคดังกล่าวมีคุณภาพชีวิตที่ ไม่ดี ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง วรานันท์ บัวจีบ หัวหน้าโครงการวิจัยนวัตกรรมชุ ดตรวจคัดกรองโรคในปาก จึงได้เริ่มการศึกษาโรคดังกล่ าวในประชากรสูงวัย เพื่อนำข้อมูลที่สำคัญมาวิ เคราะห์เตรียมความพร้อมให้ผู้สู งวัยมีบั้นปลายชีวิตที่เป็นสุข   ศาสตราจารย์ ดร. ทันตแพทย์หญิง วรานันท์ บัวจีบ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จำรัส พร้อมมาศ ดร.เบญจพร  เลิศอนันตวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี เจียรนัยกูร คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนั กงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในแผนงานทุนท้าทายไทย เพื่อรองรับสังคมสูงวัย ในการคิดค้นนวัตกรรม ชุดตรวจคัดกรองโรคในปาก ของผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว เพื่อพัฒนาชุดตรวจให้มีประสิทธิ ภาพ รู้ผลได้เร็ว เนื่องจากผู้ป่วยมะเร็งช่ องปากในระยะแรก มักไม่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเจ็ บ

พิพิธภัณฑ์การเกษตรฯ คุมเข้มมาตรการป้องกัน Covid – 19 เตรียมพร้อม 100 % แม้อยู่ในช่วงปิดให้บริการชั่วคราว

  พลอาการศเอกเสนาะ  พรรณพิกุล ผู้อำนวยการสำนักงานพิพิธภัณฑ์ เกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เปิดเผยว่า “จากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา หรือ Covid – 19 ที่ทวีความรุนแรงอย่างหนัก ซึ่งส่งผลกระทบไปในทุกภาคส่วน รวมถึงพิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิ มพระเกียรติฯ มีความจำเป็นต้องปิดให้บริการพิ พิธภัณฑ์เป็นการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2564 เป็นต้นมา เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกั นการติดเชื้อไวรัสโคโรนา หรือ Covid – 19 และเป็นการปฏิบัติตามข้ อกำหนดตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริ หารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 อย่างเคร่งครัด อย่างไรก็ตามทางพิพิธภัณฑ์ การเกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ ยังคงตระหนักและให้ความสำคั ญในการเตรียมความพร้อมเต็มที่ เพื่อให้ผู้ที่จะเข้าใช้บริ การในอนาคต เกิดความเชื่อมั่น และสามารถเข้าใช้บริการพิพิธภั ณฑ์ได้อย่างมั่นใจ เมื่อเปิดให้บริการ โดยยกระดับมาตรการป้องกัน Covid สูงสุด อาทิ เจ้าหน้าที่ บุคลากรในหน่วยงานทั้งหมดเข้ารั บการฉีดวัคซีนเข็มแรกในเดือนมิ ถุนายน 2564 ที่ผ่านมา เพื่อป้องกันและลดความรุ นแรงของโรค Covid - 19 และมีกำหนดฉีดเข็ม 2

กยท. เปิดรับสมัครบุคคลทั่วไป เพื่อขอรับทุนสนับสนุนการศึกษา ระดับ ปวช. - ปริญญาเอก ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องด้านยางพาราหรือผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

  กยท. เปิดรับสมัครบุคคลทั่วไป เพื่อขอรับทุนสนับสนุนการศึกษา ระดับ ปวช. - ปริญญาเอก ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องด้านยางพาราหรือผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้านยางพารา เปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ถึง 2 สิงหาคม 2564 การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) โดย สถาบันวิจัยยาง เปิดรับสมัครบุคคลทั่วไปที่ต้องการขอรับทุนสนับสนุนทางการศึกษาประจำปี 2564 โดยเปิดให้ทุนทั้งในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จนถึงระดับปริญญาเอก เพื่อศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนายางพารา หรือศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้องด้านยางพารา เพื่อสร้างทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ และสามารถปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับยางพาราในทุกสาขาวิชาและทุกระดับ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มศักยภาพให้กับวงการยางพาราต่อไปในอนาคต สำหรับในปีนี้ กยท. ได้จัดสรรทุนเพื่อสนับสนุนการศึกษาในแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุนละไม่เกิน 120,000 บาท จำนวน 10 ทุน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุนละไม่เกิน 180,000 บาท จำนวน 20 ทุน ระดับปริญญาตรี ทุนละไม่เกิน 400,000 บาท จำนวน 20 ทุน​ ร ะดับปริญญาโท ทุนละไม่เกิน 350,000 บาท จำนวน 4 ทุน และระดับปริญญา

สวก. สวพส. และ สพว. ผนึกกำลัง พัฒนากัญชงสู่อุตสาหกรรม

  สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. ร่วมกับ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) หรือ สวพส. และมูลนิธิเพื่อสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือ สพว. ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการในการวิจัยและพัฒนาพืชกัญชงของประเทศสู่อุตสาหกรรมระหว่างทั้งสามหน่วยงาน ผ่านทางระบบ Facebook Live ในวันที่ 6 สิงหาคม 2564 โดยบันทึกข้อตกลงความร่วมมือดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการการทำงานและการใช้ทรัพยากรร่วมกันของทั้ง สวก. สวพส. และ สพว. เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการศึกษาวิจัยและพัฒนา ต่อยอดงานวิจัยด้านกัญชงอย่างครบวงจร และร่วมกันนำองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยไปต่อยอดสู่การใช้ประโยชน์ทั้งในเชิงนโยบาย เชิงสาธารณะ และเชิงพาณิชย์ ตลอดจนถ่ายทอดเทคโนโลยีและส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการกับภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยที่ผ่านมาแต่ละหน่วยงานได้มีการดำเนินงานในการวิจัยพัฒนาและส่งเสริมในเรื่องของกัญชงมาอย่างต่อเนื่อง ดร.สุวิทย์ ชัยเกียรติยศ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร กล่าวว่า “สวก. เป็นหน่วยงานบริหารจัดการทุนวิจัยด้านการเกษตรของประเทศ ได้รับมอ

เสวนาออนไลน์ “ปฏิบัติการทางรอด โควิด-19” ทุกวิกฤติย่อมมีโอกาส ทุกปัญหาย่อมมีทางออก ร่วมหาทางรอดร่วมกันให้คนไทยได้กลับมาใช้ชีวิตตามปกติได้อีกครั้ง

  สถาบันการประชาสัมพันธ์ กรมประชาสัมพันธ์ ร่วมกับ ผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตร “นักบริหารงานประชาสัมพันธ์ระดับสูง” รุ่นที่ 61 จัดเสวนาออนไลน์ “ปฏิบัติการทางรอด โควิด-19” เพื่อสร้างพลังบวกให้ประชาชนทุกคนต้องอยู่รอดปลอดภัยผ่านพ้นสถานการณ์โควิดไปด้วยกัน ประเทศไทยและสังคมไทยต้องไปต่อให้ได้ โดยขอ เชิญผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤตโควิด-19 สื่อมวลชนและนักประชาสัมพันธ์ที่สนใจ เข้าร่วมรับฟังการ เสวนา ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย เสวนาออนไลน์ “ปฏิบัติการทางรอด โควิด-19” จะจัดขึ้น ในวันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม 2564 เวลา 14.00 – 16.00 น. ผ่านระบบ ZOOM และ Facebook Live สถาบันการประชาสัมพันธ์ วิทยากรประกอบด้วย “คุณเกรซ  นรินทร ชฎาภัทรวรโชติ” Miss Thailand World 2019  เจ้าของโครงการช่วยเหลือโรคซึมเศร้า "Let Me Hear You" “คุณโยแวร์ พีรพล อนุตรโสตถิ์” ผู้ผลิตรายการ "ชัวร์ก่อนแชร์” ช่อง 9 Mcot “คุณพอล วรัตน์พล วรัทย์วรกุล” กอบกู้ตัวเองด้วยธุรกิจออนไลน์ ผู้ก่อตั้งบริษัท ดิ ไอคอน กรุ๊ป “ดร.นพ. วรตม์ โชติพิทยสุนนท์” ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โฆษกกรมสุขภาพจิต พร้อมผู้ดำเนินรายการ “คุณอุ

วช.เสริมแกร่งประมงพื้นบ้านหนุน ม.บูรพา ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหอยแครงในบ่อดินระบบปิด ด้วยแพลงก์ตอนพืช ช่วยลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต หอยแครงโตเต็มที่ เกษตรกรปลื้ม!

  การเลี้ยงหอยแครงในพื้นที่บริ เวณชายฝั่งทะเลของไทย ประสบปัญหาด้านคุณภาพน้ำเสียที่ ถูกปล่อยลงสู่ทะเลมาอย่างต่อเนื่ อง เกษตรกรได้ปรับมาใช้วิธีการเลี้ ยงหอยแครงในบ่อดิน แต่ยังคงต้องใช้เวลาเลี้ ยงหอยแครงนาน และการเจริญเติบโตยังไม่เต็มที่   แพลงก์ตอนพืชหรือสาหร่ายเซลล์เดียวที่นำมาเพาะขยายเพิ่มจำนวนเพื่อใช้เป็นอาหารเลี้ยงหอยแครงในบ่อดินระบบปิด ดร.ไพฑูรย์ มกกงไผ่ นักวิจัยจาก ม.บูรพา คณะนักวิจัย นำโดย ดร.ไพฑูรย์ มกกงไผ่ แห่งสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ศึกษาวิจัยและดำเนินการถ่ายทอด โครงการพัฒนาบ่อดินให้เป็นบ่ อเลี้ยงหอยแครงในระบบปิดแบบพั ฒนาด้วยการผลิตแพลงก์ตอนพืช (สาหร่ายเซลล์เดียว) ร่วมกับเกษตรกรกลุ่มเพาะเลี้ ยงหอยแครง ตำบลคลองโคน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม โดยการสนับสนุนทุนวิจัย จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อช่วยเกษตรกร ลดผลกระทบจากปัญหาสภาพสิ่งแวดล้ อมเสื่อมโทรม คุณภาพน้ำไม่เหมาะสม หรือน้ำเสียได้สำเร็จ บ่อดินระบบปิดที่ทำการทดลองเลี้ยงหอยแครงด้วยแพลงก์ตอนพืชเสริมกับอาหารตามธรรมชาติ มีการติดตั้งกังหันนำ้เพื่อเติ

ศูนย์ฉีดวัคซีนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เร่งปูพรมฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19​ตั้งเป้าเดือนกรกฎาคมนี้ ฉีดวัคซีนให้ได้ 80,000 - 100,000 คน

  ศูนย์บริการฉีดวัคซีน KU สู้ COVID-19 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยการสนับสนุนของราชวิทยาลัยจุ ฬาภรณ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เอไอเอส และกรุงเทพมหานคร เปิดเผยข้อมูลการฉีดวัคซีนสะสม เริ่มตั้งแต่วันที่ 7 มิถุนายน 2564 จนถึงวันที่ 12 กรกฎาคม 2564 สามารถฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ได้จำนวนถึง 88,488 คน ตั้งเป้าเดือนกรกฎาคมนี้ จะเร่งฉีดวัคซีนให้ได้จำนวน 80,000 - 100,000 คน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังสนับสนุ นพื้นที่โครงการจัดตั้งวิ ทยาเขตสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นที่ตั้งของโรงพยาบาลสนาม จำนวน 120 เตียง เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยติดเชื้ อโควิด-19 อีกด้วย ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลั ยเกษตรศาสตร์  เปิดเผยว่า หลังจากที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับมอบหมายให้เป็นศูนย์ฉีดวั คซีนถาวร 1 ใน  11 หน่วยฉีด ของกระทรวง อว.ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล เริ่มตั้งแต่วันที่ 7 มิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา ตามวาระแห่งชาติ สร้างภูมิคุ้มกันหมู่พร้อมกันทั่ วประเทศ นั้น ศูนย์บริการฉีดวัคซีน KU สู้ COVID-19 ได้ฉีดวัคซีนไปแล้ว จำนวน 88,488 คน แ