ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2021

วช. เสริมแกร่ง นวัตกรรมปลูกพืชเศรษฐกิจร่วมกับเห็ดป่าไมคอร์ไรซา พื้นที่ต้นแบบ จ.แพร่

  วันนี้ 31 ตุลาคม 2564 ที่ชุมชนบ้านบุญแจ่ม ต.น้ำเลา อ.ร้องกวาง จ.แพร่  ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่ งชาติ ร่วมกับ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) และมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ลงพื้นที่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรม การปลูกพืชเศรษฐกิจร่วมกั บการเพาะเห็ดไมคอร์ไรซา พร้อมเปิดศูนย์เรียนรู้พื้นที่ ต้นแบบ “ชุมชนไม้มีค่า” เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่ งยืน ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่ งชาติ กล่าวว่า วช.ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่ วยงานหลัก ในการบูรณาการการขับเคลื่อน โครงการชุมชนไม้มีค่า ตามมติคณะรัฐมนตรี ในการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกไม้ มีค่า เพื่อสร้างแหล่งอาหารและพั ฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน โดย วช. ได้สนับสนุนการดําเนิ นงานโครงการ ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี นวัตกรรม การปลูกพืช เศรษฐกิจร่วมกับการเพาะเห็ ดไมคอร์ไรซา เพื่อพัฒนา เศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน ให้กับ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ซึ่งผลการดําเนินงานได้มีการจั ดกิจกรรมส่งเสริม อบรม ถ่ายทอดการปลูกพืชเศรษฐกิจร่ วมกับการเพาะเห็ดไมคอร

วช. จัดเวทีเสวนาเปิดให้บริการฐานข้อมูล Big Data ในวาระครบรอบ 62 ปี

  เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2564 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดเสวนาความสำคัญของระบบข้อมู ลสารสนเทศ ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ และการเปิดให้บริการข้อมู ลจากฐานข้อมูลกลางด้าน ววน.ของประเทศ เนื่องในโอกาสวันคล้ายวั นสถาปนาสำนักงานการวิจัยแห่ งชาติ (วช.) ครบรอบ 62 ปี โดยมี ศ.กิตติคุณ นพ.สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ ประธานกรรมการส่งเสริมวิ ทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่ งชาติ และ ผศ.ดร.สุภาภรณ์ เกียรติสิน หัวหน้าโครงการพัฒนาระบบข้อมู ลสารสนเทศ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลให้เกียรติร่ วมเสวนา ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่ งชาติ กล่าวว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา วช.ได้มีบทบาทในการพัฒนาศั กยภาพและเพิ่มขี ดความสามารถในการวิจั ยของประเทศจนต่อยอดงานวิจัยไปสู่ เชิงพาณิชย์ และเมื่อมีการจัดตั้งกระทรวง อว. ขึ้น ทำให้ภารกิจของ วช.ในฐานะหน่วยงานหลักในการให้ ทุนวิจัยต้องสร้างระบบข้อมู ลสารสนเทศวิจัยและนวัตกรรมแห่ งชาติให้เป็นเครื่องมือในการบริ หารจัดการทุนในรูปแบบออ

62​ ปี​ ​วช.เปิดตัวนวัตกรรมรักษ์โลก​ "ถุงตอนกิ่งสำหรับมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง" ฝีมือเด็กไทยคว้ารางวัลสิ่งประดิษฐ์​ ระดับนานาชาติ

  วันที่ 28 ตุลาคม 2564 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดแถลงข่าว “NRCT Talk: 62 ปี วช. เปิดตัวผลงานสิ่งประดิษฐ์ “ถุงตอนกิ่งสำหรับมะม่วงน้ำ ดอกไม้สีทอง” ที่นำขยะทางการเกษตรมาพัฒนาเป็ นถุงเพาะชำที่ให้ธาตุกับต้นไม้ ได้ หนึ่งในสิ่งประดิษฐ์ที่เข้าร่ วมประกวดในเวทีนานาชาติงาน “The Innovation Week in Africa (IWA 2021) ณ ประเทศโมร็อกโก”   นายสมปรารถนา สุขทวี รองผู้อำนวยการสำนักงานการวิจั ยแห่งชาติ กล่าวว่า วช.ได้ส่งเสริมและสนับสนุนนักวิ จัยและนักประดิษฐ์ ไทยในการนำผลงานที่มีคุ ณภาพและมีศักยภาพด้านการวิจั ยและด้านการประดิษฐ์คิดค้น เข้าร่วมแสดงนิ ทรรศการและประกวดผลงานในเวที ระดับนานาชาติ นั้น ทำให้ผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมของคนไทยที่ ไปเผยแพร่ เป็นที่รู้จักสามารถนำไปสู่ การพัฒนาต่อยอดผลงานให้ได้ มาตรฐานเกิดการยอมรั บในทางการตลาดและก้าวสู่เชิ งพาณิชย์ต่อไป ในครั้งนี้ วช. ได้สนับสนุนผลงานสิ่งประดิษฐ์ “ถุงตอนกิ่งสำหรับมะม่วงน้ำ ดอกไม้สีทอง” ของ นายพรหมพิริยะ ขัตติยวงษ์,นายนรากรณ์ ธนิกกุล, นายจิราวัฒน์ ศรีศิลป์โสภณ, นายอชิตพล จินดาพรรณ นัก

62 ปี วช. มิติใหม่ พัฒนาไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม

  สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ครบรอบ 62 ปี พร้อมก้าวเข้าสู่ปีที่ 63 ด้วยความมุ่งมั่นพัฒนาผลงานวิจั ย เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิ จและสังคม พร้อมยกระดับคุณภาพชีวิ ตของประชาชน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่ งขันของประเทศต่อไป วันที่ 28 ตุลาคม 2564 ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่ งชาติ กล่าวว่า เนื่องในโอกาส  “วันคล้ายวันสถาปนาสำนั กงานการวิจัยแห่งชาติ ครบรอบ 62 ปี” ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา วช. ได้มีบทบาทในการพัฒนาศั กยภาพและเพิ่มขี ดความสามารถในการวิจั ยของประเทศให้พัฒนาขึ้น สร้างฐานความรู้ที่มีคุณค่ าสามารถประยุกต์และพัฒนาวิ ทยาการที่เหมาะสม รวมถึงการต่อยอดงานวิจัยให้เกิ ดประโยชน์ ทั้งในเชิงพาณิชย์และสาธารณะ นอกจากนี้ วช. มีภารกิจสำคัญเป็นหน่วยงานให้ทุ นวิจัยหลักของประเทศ รวมถึง การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศวิจั ยและนวัตกรรมแห่งชาติ NRIIS (National Research and Inter System) ที่สามารถบริหารจัดการทุนวิจั ยในแบบออนไลน์ ได้ 100% และ วช. จัดทำมาตรฐานและจริยธรรมการวิจั ย ให้เป็นที่ยอมรับทั้ งในประเทศและในระดับสากล  กิจกรรม

นักวิจัย ประเมินน้ำท่วมกระทบนาข้าว 3.5 ล้านไร่ แต่คาดการณ์ปีหน้าน้ำอาจน้อย

  สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สนับสนุนทุนวิจัย แก่ ผศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ สุทธินนท์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักวิจัยภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์ เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม แผนการบริหารจัดการน้ำ ปีที่ 2 งานวิจัยประเมินความเสี ยหายของข้าวจากน้ำท่วม เผยกระทบพื้นที่ภาคอีสานมากที่ สุด ตามด้วยภาคกลาง และภาคเหนือตามลำดับ แต่อนาคตคาดน้ำน้อย ห่วงประชาชนจำนวนมากกลับต่างจั งหวัด หวังทำการเกษตร กระทบเศรษฐกิจอีกรอบ แม้ว่าภาพรวมในช่วงเดือนกั นยายนถึงเดือนตุลาคม ประเทศไทยจะเผชิญกับสถานการณ์น้ำ ท่วม อย่างไรก็ตาม หากมองถึงปริมาณน้ำต้นทุนในเขื่ อนภูมิพล และเขื่อนสิริกิติ์ ซึ่งเป็นเขื่อนหลักที่ส่งน้ำเข้ ามาดูแลภาคกลาง รวมถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล กลับมีปริมาณน้ำที่ใช้การได้เพี ยง 41% และ 24 % เท่านั้น (ข้อมูลจากศูนย์อำนวยการน้ำแห่ งชาติ ณ วันที่ 25 ตุลาคม 2564) ด้วยปริมาณน้ำเพียงเท่านี้ อีกทั้งต้องนำไปใช้ดูแลพื้นที่ ปลูกข้าวและพัฒนาเศรษฐกิจของลุ่ มน้ำเจ้าพระยาในฤดูแล้งที่กำลั งจะมาถึง อาจทำให้ประเทศไทยต้องเผชิญกั บภา

กยท.ก้าวสู่มาตรฐานสากล ISO/IEC 27001:2013

  NT ร่วมแสดงความยินดีในโอกาสที่ กยท. ได้รับมอบ ใบรับรองมาตรฐานสากล ISO/IEC 27001:2013 เมื่อวันที่​ 26 ตุลาคม 2564  ดร . วงกต วิจักขณ์สังสิทธิ์   รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานดิจิทัล บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน)  หรือ  NT  ร่วมแสดงความยินดีในโอกาสที่  การยางแห่งประเทศไทย  (กยท.) ได้รับมอบใบรั บรองมาตรฐานระบบบริหารจั ดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ  ISO/IEC  27001:2013  Certificate of Compliance  สำหรับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมี  นายณกรณ์ ตรรกวิรพัท  ผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย  เป็นประธานในพิธี ณ ห้องประชุมรัษฎา การยางแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ นายณกรณ์  ตรรกวิรพัท  ผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย  กล่าวว่า กยท. เป็นหน่วยงานภาครัฐในการบริ หารยางพาราของประเทศทั้งระบบ ให้ความช่วยเหลื อเกษตรกรชาวสวนยาง พร้อมพัฒนาการทำอาชีพชาวสวนยาง มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางอุ ตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางพาราอย่ างครบวงจรในระดับสากล และเล็งเห็นถึงความสำคั ญของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ ามามีส่วนช่วยขับเคลื่อน สนับสนุนภารกิจขององค์กร พัฒนาการดำเนินงานให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล และรองรับตามนโยบายหลั กของประเทศ ด้วยก

วช. ดันนวัตกรรมแปรรูปผลไม้ ร่วมกับ จ. ชุมพร นำทีมวิจัยลุยพื้นที่ ช่วยชาวสวนมังคุด แก้ปัญหาผลิตผลล้นตลาด

  เมื่อวันที่ 20ตุลาคม 2564 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)  กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับจังหวัดชุมพร นำโดย นายสัมฤทธิ กองเงิน รองผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร นำทีมนักวิจัย จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง “โครงการชุดโรงงานพร้อมเครื่ องจักรแปรรูปผลไม้ตัวต่อเพื่ อธนาคารผลไม้เคลื่อนที่” และ “โครงการนวัตกรรมแปรรูปเพิ่มมู ลค่ามังคุดสำหรับเศรษฐกิ จฐานรากอย่างยั่งยืน : บทเรียนต้นแบบจากชุมชนลุ่มน้ำ หลังสวน” ลงพื้นที่ อ.หลังสวน จ.ชุมพร ผนึกการทำงานกับภาครัฐ เอกชน และกลุ่มชาวสวนมังคุด เพื่อขับเคลื่อนการแปรรูปผลไม้ เพิ่มมูลค่า บรรเทาผลผลิตล้นตลาด กระตุ้นการจ้างงาน ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่ งชาติ กล่าวว่า จากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย วช. ตระหนักถึงปัญหา และผลกระทบในหลายมิติ โดยเฉพาะเศรษฐกิจฐานราก จึงได้วางเป้าหมายการวิจัยและพั ฒนา ให้สอดรับกับแผนพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิ จของประเทศให้เข้มแข็ง โดยส่งเสริมให้ “นวัตกรรมขับเคลื่อนเศรษฐกิจ” ภายใต้แนว