อินทผลัมพันธุ์เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (บาฮี) นำเข้าจากต่างประเทศที่เกษตรกรไทยปลูกกันอยู่ในขณะนี้
คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยกรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก เป็นแห่งแรกที่ประสบความสำเร็
จนมาถึงปัจจุบัน นักวิจัยได้พัฒนางานวิจัยและต่ อยอดเพื่อหวังผลิตต้นพันธุ์อิ นทผลัมให้ออกสู่ตลาดในเชิงพาณิ ชย์ได้ ในปี 2564 ทีมวิจัยได้รับสนับสนุ นงบประมาณจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ให้ทำการศึกษาวิจัย เรื่อง การคัดเลือกสายพันธุ์ และการขยายพันธุ์มะพร้าวน้ำ หอมและอินทผลัมเชิงพาณิชย์ โดยมุ่งพัฒนาต่อยอดสู่เชิงพาณิ ชย์และถ่ายทอดให้กับบริษัทเอกชน เพื่อลดการนำเข้าต้นพันธุ์อิ นทผลัมจากต่างประเทศ และให้ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตต้ นพันธุ์อินทผลัมส่งออกในอนาคต
ผศ.ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยกรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร กล่าวว่า “อินทผลัมเป็นพืชที่ปรับตัวเข้ ากับสภาพแวดล้อมของประเทศไทยได้ เป็นอย่างดี หากมีการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดี ได้แก่ ดิน ปุ๋ย และน้ำ จะยิ่งทำให้ต้นอินทผลัมมี ความสมบูรณ์และให้ผลผลิตสูง ถึงแม้เราจะทราบกันดีว่าอินทผลั มสามารถทนแล้งได้ดี แต่ไม่ได้หมายความว่าอินทผลั มชอบแล้ง พืชทุกชนิดหากได้รับปริมาณธาตุ อาหารและน้ำอย่างเหมาะสมก็จะให้ ผลผลิตที่มีคุณภาพ แต่อย่างไรก็ตามเกษตรกรไม่ ควรปล่อยปะละเลยเรื่องแมลง โดยเฉพาะด้วงงวง ซึ่งเป็นแมลงศัตรูที่มีความสำคั ญมาก เมื่อตัวเต็มวัยว่างไข่และตัวอ่ อนเจริญกัดกินยู่ภายในลำต้นอิ นทผลัมแล้วเป็นเรื่องยากที่ จะกำจัดได้ ส่วนใหญ่ต้นอินทผลัมที่ถูกด้ วงงวงทำลายมักจะตายในที่สุด ดังนั้น จึงควรหมั่นตรวจแปลง และป้องกันกำจัดด้วยวิธี กลและใช้สารเคมีอย่างถูกต้ องและปลอดภัย”
อินทผลัมพันธฺุ์เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อนำเข้าจากต่างประเทศที่ผ่านการคัดเลือกเพศ (ต้นตัวเมีย)มาแล้ว
ผศ.ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท ยังกล่าวต่ออีกว่า “ปัจจุบันประเทศไทยต้องนำเข้าตั
ดร.นพรัตน์ อินถา นักวิจัย ได้กล่าวว่า “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออิ นทผลัมเพื่อให้ได้ต้นพันธุ์ดี เพศเมีย จะต้องนำหน่อข้างหรือช่ อดอกมาเพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้ อ หรือ เลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ เพื่อชักนำให้เกิดแคลลัส (callus) จากนั้น จึงชักนำให้เป็นต้นอ่อนขนาดเล็ก จากนั้นชักนำให้เกิดราก และเลี้ยงจนได้ต้นอ่อนที่ ใบและรากที่สมบูรณ์ ใช้ระยะเวลาประมาณ 2 ปี จึงย้ายออกจากขวดหรือหลอดทดลอง แล้วนำไปปลูกอนุบาลในโรงเรื อนอนุบาลพืช อีกประมาณ 12 เดือน จึงจะนำไปปลูกในแปลงปลูกได้ แต่หากต้องการต้นพันธุ์ จำนวนมากก็ต้องใช้ระยะเวลามากขึ้ นไปตามจำนวนต้นพันธุ์ที่ต้องการ แต่ทั้งนี้ไม่ควรเพาะเลี้ ยงในสภาพปลอดเชื้อเป็ นระยะเวลานาน หรือ ไม่ควรนำแคลลัสไปเพิ่มปริ มาณหลายรอบ ซึ่งจะทำให้เกิ ดความแปรปรวนทางพันธุกรรมอันเนื่ องมากจากการโคลน (Somaclonal variation) ได้”
ผศ.ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท ได้กล่าวปิดท้ายว่า “นอกจากอินทผลัมแล้วเรายังได้ ทำการวิจัยการเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่อพืชชนิดอื่น ๆ เช่น มะพร้าวน้ำหอมก้นจีน อ้อยปลอดโรคใบขาว กล้วยไม้สกุลต่าง ๆ กัญชง และสตรอว์เบอร์รี อีกด้วย คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยกรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความมุ่งมั่นที่จะทำการศึ กษาวิจัย และนำองค์ความรู้ไปใช้ในการพั ฒนาประเทศ เราได้นำองค์ความรู้ไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนของคณะฯ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทั กษะการปฏิบัติงาน มีความรอบรู้ ทันต่อเทคโนโลยีและการเปลี่ ยนแปลงของโลก และที่สำคัญบัณฑิตจะต้องเป็นที่ ต้องการของผู้ใช้บัณฑิตด้วย”
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น